ประชาสัมพันธ์หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาลัยราชภัฏเทพสตรี BY-🤢
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
ระบำโบราณคดี ลพบุรี
ระบำลพบุรี เป็นระบำชุดที่ 3 เกิดขึ้นจากแนวความคิดของนายธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร) ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยหลักฐานจากโบราณวัตถุและภาพจำหลักตามโบราณสถาน ซึ่งสร้างขึ้นตามแบบศิลปะของขอม ที่อยู่ในประเทศกัมพูชาและในประเทศไทย การแต่งทำนองเพลง กระบวนท่ารำ และเครื่องแต่งกาย จึงมีลักษณะคล้ายเขมรเป็นส่วนใหญ่ ระบำลพบุรีแสดงครั้งแรกเพื่อถวายแด่ แด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทอดพระเนตรในงานเสด็จพระราชดำเนินทางเปิดการแสดงศิลปะโบราณวัตถุในอาคารสร้างใหม่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 และภายหลังได้นำออกแสดงในโรงละครแห่งชาติและที่อื่น ๆ เพื่อให้ประชาชนชม ในการพัฒนาระบำชุดลพบุรี จะมีบุคคลสำคัญ ประกอบด้วย
1. นายมนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปีพุทธศักราช 2528 เป็นผู้แต่งทำนองเพลง โดยมีสำเนียงออกไปทางเขมร
2. นางลมุล ยมะคุปต์ ผู้เชี่ยวชาญการสอนระบำโบราญคดีวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร และนางเฉลย ศุขะวณิช ผู้เชี่ยวชาญการสอนระบำโบราญคดีวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์) ปีพุทธศักราช 2530 เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ
3. นายสนิท ดิษฐพันธ์ ออกแบบเครื่องแต่งกาย นางชนานันท์ ช่างเรียน สร้างเครื่องแต่งกาย นายชิต แก้วดวงใหญ่ สร้างศิราภรณ์
My First EP0! กิจกรรมรับน้อง มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี TRU ปี 61
(กด HD เพื่อเพิ่มอรรถรสในการรับชม) ขอบคุณที่เข้ามาดูครับ
วิดีโอนี้เป็นงานส่วนหนึ่งของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
โดยนายนิติธร บุญยะกิติ
รหัส 59115530227 สาขาภาษาอังกฤษ ค.บ.
(จริงๆก็อยากทำวิดีโอให้ดีกว่านี้ครับด้วยความเวลาที่จำกัด)
comment กันได้นะครับ อยากให้แก้ตรงไหนทำอะไรบอกเลย!!
ประชาสัมพันธ์คณะและสาขาที่เปิดสอน ประจำปีการศึกษา 2564 – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
จัดทำโดย นางสาวมณัญญา หอมทวนลม 61115260202 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 3
10 อันดับมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ดีที่สุดในประเทศไทย 2020
เกณฑ์ที่ใช้ในการจัดอันดับ ประกอบด้วย
1. PRESENCE : 5 % คือ จำนวนการแสดงผลของ webdomain หลักของสถาบันการศึกษา ซึ่งจะรวมถึงโดเมนย่อยทั้งหมด : สืบค้นได้จาก Google
2. VISIBILITY : 50 % คือ จำนวนการมองเห็นครือข่ายภายนอกที่มีต้นกำเนิดย้อนกลับไปยังสถาบันการศึกษาหน้าเว็บ : สืบค้นได้จาก Ahrefs, Majestic
3. TRANSPARENCY (OR OPENNESS) : 10 % คือ จำนวนการอ้างอิงจากนักเขียนยอดนิยมตามแหล่งที่มา ดูการจัดอันดับใส่สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม : สืบค้นได้จาก Google Scholar, Citations, Citations
4. EXCELLENCE (or SCHOLAR) : 35% คือ จำนวนบทความวิชาการและการอ้างอิงบทความทางวิชาการ : สืบค้นได้จาก Scimago
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWIKI